MODI โมดิ

MODI โมดิ
โมดิ MODI
MODI โมดิ
MODI โมดิ
MODI โมดิ
MODI โมดิ
โมดิ MODI
โมดิ MODI
โมดิ MODI
โมดิ MODI
โมดิ MODI
โมดิ MODI
โมดิ MODI

MODI โมดิ
โมดิ MODI
โมดิ MODI

ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเสริมอาหาร "โมดิ MODI"

ประกอบด้วยสาร ชาเรนติน (Charantin) จากมะระขี้นก ที่ทำหน้าที่คล้ายอินซูลิน สามารถทดแทนอินซูลิน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนประกอบสำคัญ
:

      สารสกัดจากมะระขี้นก (Bitter Curcumber Extract),
สารสกัดจากมะเขือเทศ (Tomato Powder),
สารสกัดจากขมิ้น (Curcuminoids),
ไนอะซิน (Niacin Vitamin B3)

สารสกัดมะระขี้นก ซึ่งมีสารชาแรนติน (Charantin) ที่มีผลต่อการลดระดับน้ำตาลในเลือด ลดการสร้างน้ำตาลจากตับ และเสริมสร้างการหลั่งอินซูลินจากตับอ่อน

สารสกัดมะเขือเทศ ที่มีส่วนผสมของไลโคปีนโดยสารไลโคปีนในมะเขือเทศนี้จากงานวิจัยพบว่าจะทำหน้าที่ลดระดับน้ำตาลในเลือด ผช.ศ.ดร.สจวร์ต เวลส์ จากวิทยาลัยแพทย์ มหาวิทยาลัยนิวยอร์กกล่าวว่า เมื่อเกล็ดเลือดเกาะตัวกัน มันจะลอยไปอุดตันตามที่ต่างๆ อย่างเส้นเลือดเลี้ยงสมองเส้นเลือดเลี้ยงหัวใจ ซึ่งสภาวะเช่นนี้เป็นปัญหาที่พบมากในผู้ป่วยโรคหัวใจ และโรคเบาหวานจากการให้อาสาสมัครผู้ป่วยเบาหวานชาย 14 คน หญิง 6 คน ช่วงอายุ 32-48 ปี แบ่งกลุ่มดื่มน้ำมะเขือเทศ และเครื่องดื่มแต่งกลิ่นน้ำมะเขือเทศ พบว่ากลุ่มที่ดื่มน้ำมะเขือเทศแท้ มีภาวะอุดตันของเกล็ดเลือดลดลงในระดับต่ำมาก ส่วนกลุ่มที่ดื่มเครื่องดื่มแต่งกลิ่นสังเคราะห์ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ

สารเคอร์คูมินอยด์ (Curcuminiod)
ที่ได้จากกระบวนการการสกัดขมิ้นชันที่มีประสิทธิภาพสารเคอร์คูมินอยด์สามารถกระตุ้นการทำงานของตับอ่อน ส่งผลให้การหลั่งฮอร์โมนอินซูลินดีขึ้น และไนอะซิน (วิตามินบี 3) สามารถช่วยในการเผาผลาญไขมัน ลดปัญหาต่างๆของระบบย่อยอาหารจากรายงานวิจัยที่ได้ศึกษาสารสกัดจากขมิ้นชันชนิดแคปซูลเพื่อลดน้ำหนักและลดระดับไขมันในเลือดพบว่า สารเคอร์คูมินอยด์สามารถลดไขมันในเลือดและเนื้อเยื่อไขมันในร่างกายเมื่อทดลองในหนู และยังช่วยเพิ่มการหลั่งของกรดน้ำดีและดูแลเรื่องยีนส์ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างคอเลสเตอรอล

ไนอะซิน (วิตามิน บี3) สามารถช่วยในการเผาผลาญไขมัน ลดปัญหาต่างๆของระบบย่อยอาหาร จากรายงานวิจัยที่ได้ศึกษา สารสกัดจากขมิ้นชัน ชนิดแคปซูลเพื่อลดน้ำหนัก และลดระดับไขมันในเลือด สารเคอร์คูมินอยด์ สามารถลดระดับไขมันในเลือด และเนื้อเยื่อไขมันในร่างกาย อีกทั้งยังช่วยเพิ่มการหลั่งของกรดน้ำดีและยับยั้งยีนส์ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างคอเลสเตอรอล

จากงานวิจัยที่รวบรวมมานี้สรุปได้ว่า สารสกัดจากมะระขี้นก สารสกัดจากมะเขือเทศและสารสกัดจากขมิ้นชัน ช่วยในเรื่อง....
- ดูแลเบาหวาน
ดูแลระดับน้ำตาลในเลือด
- ดูแลระดับไขมันในเลือด
- ลดโรคแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน


วิธีรับประทาน : รับประทานครั้งละ 2 แคปซูล หลังมื้ออาหาร


คำเตือน
:
เด็กและสตรีมีครรภ์ ไม่ควรรับประทาน


ขนาดบรรจุ 30 เม็ด เม็ดละ 500 มิลลิกรัม


เลขที่ อย. 50-1-12755-1-0004

 

เกร็ดความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน

ทำความรู้จักกับโรคเบาหวานกัน แถมด้วยวิธีการสังเกตตัวเองว่าเป็นโรคเบาหวานหรือไม่ อาการโรคเบาหวาน 10 สัญญาณควรระวัง เช็คได้ง่ายนิดเดียว

          โรคเบาหวาน อยากรู้ว่าตัวเองกำลังกลายเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานหรือไม่ ต้องเช็กอาการเหล่านี้ อย่ามัวแต่ละเลยจนสายเกินแก้อ่านแล้วรีบเช็ก รู้ตัวก่อนจะได้รักษาได้อย่างถูกวิธีค่ะ โรคเบาหวาน เป็นโรคภัยไข้เจ็บที่คนสมัยนี้ตรวจพบกันมากขึ้น เนื่องจากสภาวะสังคมที่เปลี่ยนไป ทำให้ต้องเร่งรีบอยู่ตลอดเวลา และลืมเอาใจใส่สุขภาพของตัวเอง ซึ่งส่วนใหญ่ก็แทบจะไม่รู้เลยว่าตัวเองเป็นนอกเสียจากว่าจะไปตรวจสุขภาพแล้วจึงจะพบ แต่กว่าจะพบว่าตัวเองเป็นเบาหวาน ระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงก็ส่งผลมากมายต่อสุขภาพแล้ว แถมพอเป็นแล้วก็ยังไม่รู้อีกว่าตัวเองเป็นเบาหวานประเภทไหน เพราะโรคเบาหวานนั้นก็ยังถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท โรคเบาหวาน เป็นความผิดปกติทางร่างกายที่เกิดจากการที่ตับอ่อนสร้าง "ฮอร์โมนอินซูลิน" ได้น้อยหรือไม่สามารถสร้างได้เลย ซึ่งฮอร์โมนอินซูลินที่ว่าจะคอยช่วยให้ร่างกายเผาผลาญน้ำตาลมาใ­­­­ช้เป็นพลังงาน และเมื่อฮอร์โมนอินซูลินในร่างกายไม่เพียงพอก็จะทำให้เกิดการสะสมของน้ำตาลในอวัยวะต่าง ๆ เมื่อน้ำตาลสะสมในเลือดมาก ๆ ก็จะถูกกรองออกมาผ่านทางปัสสาวะนั่นเอง โดยโรคเบาหวานเป็นโรคที่เรื้อรังและไม่หายขาด รวมทั้งยังเป็นโรคทางพันธุกรรมอีกด้วย นอกจากนี้โรคเบาหวานยังสามารถเกิดขึ้นได้แม้คนในครอบครัวไม่มีประวัติโรคเบาหวาน เพราะปัจจัยต่าง ๆ ในการใช้ชีวิต อย่างเช่น อาหารการกิน สิ่งแวดล้อม การออกกำลังกาย หรือแม้แต่การใช้ยาบางชนิด ก็ทำให้เกิดโรคเบาหวานได้เช่นกัน โรคเบาหวานแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ ประเภทที่พึ่งอินซูลินและประเภทที่ไม่พึ่งอินซูลิน โดยชนิดที่พบได้บ่อยที่สุดก็คือ ประเภทที่ 2 หรือประเภทที่ไม่พึ่งอินซูลิน ซึ่งมีความรุนแรงน้อย และมักพบในกลุ่มคนอายุ 40 ปีขึ้นไป แต่ก็อาจจะพบในวัยเด็กหรือวัยหนุ่มสาวได้ โดยประเภทนี้ตับอ่อนจะสามารถสร้างอินซูลินได้แต่ก็สร้างได้น้อยไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ทำให้ร่างกายจำเป็นต้องได้รับอินซูลินบ้างเป็นครั้งคราว ทั้งนี้อาการของผู้ป่วยโรคเบาหวานมักจะสังเกตได้ดังนี้

ปัสสาวะบ่อยขึ้น หิวน้ำบ่อยขึ้น

          หากคุณเริ่มรู้สึกว่าพักหลัง ๆ คุณลุกไปเข้าห้องน้ำบ่อยกว่าปกติ โดยเฉพาะในตอนกลางคืน และกระหายน้ำมากกว่าเดิม ขอบอกเลยว่านั่นเป็นสัญญาณของโรคเบาหวานค่ะ นั่นก็เป็นเพราะร่างกายจะต้องขับปริมาณน้ำตาลในเลือดที่สูงกว่าปกติออกมาทางปัสสาวะ และร่างกายก็ต้องการน้ำเพื่อทดแทนของเหลวที่ขับออกไปพร้อมกับน้ำตาล แต่ก็จะเป็นเฉพาะเวลาที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูงเท่านั้น หากสามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้ปกติได้ อาการเหล่านี้ก็จะเบาบางลง

น้ำหนักลด

          การที่น้ำหนักลดผิดปกติ ไม่ใช่เรื่องที่ควรละเลยค่ะ เพราะนั่นอาจจะเป็นสัญญาณเตือนของโรคบางชนิดได้ โดยเฉพาะโรคเบาหวาน การที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงจะส่งผลให้น้ำหนักดิ่งลงอย่างรวดเร็วประมาณ 5-10 กิโลกรัม ภายในเวลา 2-3 เดือนเท่านั้น ซึ่งไม่ใช่ผลดีกับร่างกายเลย

ส่วนสาเหตุของการที่น้ำหนักลดอย่างรวดเร็วนั้นก็เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้เป็นพลังงานได้ ทำให้ร่างกายเหมือนอยู่ในสภาวะขาดอาหารและเริ่มดึงโปรตีนจากกล้ามเนื้อมาใช้เป็นพลังงานแทน นอกจากนี้การที่ไตทำงานอย่างหนักยังส่งผลให้ร่างกายเผาผลาญแคลอรีมากเกินไป แถมยังอันตรายต่อไตอีกด้วย

หิวบ่อย กินจุบจิบ

          ถ้าเกิดอยู่ดี ๆ คุณกลายเป็นคนชอบกินจุบจิบหรือหิวบ่อยแบบไม่มีสาเหตุละก็ สันนิฐานได้เลยค่ะว่า คุณอาจจะกำลังเป็นโรคเบาหวาน เพราะเมื่อระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ ร่างกายก็จะต้องการอาหารเพื่อเพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด และจะส่งสัญญาณออกมาเป็นความรู้สึกหิวนั่นเอง แต่ถ้าอยากให้แน่ใจว่าป่วยเป็นเบาหวานหรือไม่ก็ควรไปตรวจจะดีกว่า

มีปัญหาที่ผิวหนัง

          ผิวแห้งแตก หรืออาการคันบนผิวหนัง เป็นสัญญาณพื้นฐานของผู้ป่วยโรคเบาหวาน โดยผู้ป่วยเบาหวานบางรายอาจจะมีรอยดำคล้ำที่บริเวณคอหรือใต้รักแร้ ซึ่งมีสาเหตุมาจากภาวการณ์ดื้ออินซูลินในร่างกาย ดังนั้นหากพบว่ามีปัญหาผิวหนังดังกล่าว ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อทำการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด

บาดแผลหายช้า

          หากบาดแผลที่เกิดจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น การติดเชื้อ แผลถูกของมีคมบาด หรือแม้แต่รอยฟกช้ำนั้นหายได้ช้านั่นเป็นสัญญาณที่เห็นได้ชัดว่าคุณกำลังเผชิญกับโรคเบาหวานค่ะ เพราะระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงเกินกว่าปกติของผู้ป่วยเบาหวานจะไปขัดขวางการทำงานของหลอดเลือด โดยจะไปสร้างความเสียหายในหลอดเลือด ส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงบริเวณที่มีบาดแผลได้น้อย หากไม่ระมัดระวังหรือรักษาความสะอาดให้ดี ก็อาจจะกลายเป็นแผลติดเชื้อ และเกิดเนื้อตายได้

ติดเชื้อราง่าย

          โรคเบาหวานเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ภูมิคุ้มกันของเราอ่อนแอลง ทำให้ร่างกายจะไวต่อการติดเชื้อ และเชื้อราที่ผู้ป่วยโรคเบาหวานพบบ่อยที่สุดก็คือ เชื้อราแคนดิด­า (Candida) เพราะส่วนใหญ่แล้วเชื้อราชนิดต่าง ๆ มักจะเติบโตได้ดีในสภาวะที่อุดมไปด้วยน้ำตาล โดยเฉพาะคุณผู้หญิงอาจติดเชื้อราแคนดิดาได้­บ่อ­­­ยในบริเวณช่องคลอด วิธีการรักษาก็คือ การใช้ยาฆ่าเชื้อและควบคุมระดับน้ำตาล

อ่อนเพลีย อารมณ์ฉุนเฉียว

          อาการอ่อนเพลียและอารมณ์ฉุนเฉียวเป็นสิ่งที่ผู้ป่วยเบาหวานจะต้องเจอเมื่อระดับน้ำตาลในเลือดสูง เนื่องจากระดับน้ำตาลในเลือดจะส่งผลกับทุกระบบการทำงานในร่างกาย แม้แต่กับภาวะทางอารมณ์ แต่ก็ไม่ต้องกังวลจนมากไป เพราะเมื่อร่างกายขับน้ำตาลออกมาทางปัสสาวะจนระดับน้ำตาลในเลือดเข้าสู่ภาวะปกติแล้ว ระบบต่าง ๆ ในร่างกายก็จะกลับมาทำงานได้ดีขึ้น อาการอ่อนเพลียและอารมณ์ที่แปรปรวนก็จะหายไป

มองไม่ชัด

          อาการมองเห็นไม่ชัด เห็นแสงวูบวาบ หรือเห็นอะไรลอยไปมาในดวงตา เป็นผลมาจากระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงเกินไป โดยระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงจะไปทำปฏิกิริยาภายในดวงตา ทำให้เกิดความผิดปกติ แต่ไม่ต้องกังวล เพราะอาการนี้จะไม่เป็นตลอดไปหากสามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในระดับปกติได้ แต่ก็ควรที่จะหมั่นตรวจเลือดเพื่อเช็กระดับน้ำตาลในเลือดอย่างสม่ำเสมอ เพราะถ้าหากไม่ตรวจเช็กและควบคุมให้ดี ก็อาจจะทำให้มีสิทธิ์ตาบอดได้

รู้สึกชาตามปลายมือปลายเท้า

          อาการชาตามปลายมือปลายเท้า เป็นอาการที่แสดงให้เห็นว่าระดับน้ำตาลในเลือดได้เข้าไปทำลายระบบการทำงานของประสาท มักจะเป็นอาการที่เกิดกับคนที่เป็นโรคเบาหวานและมีระดับน้ำตาลสูงติดต่อกันเป็นเวลานาน วิธีการป้องกันก็คือ การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม และควรรับประทานวิตามินบีเพื่อบำรุงประสาทอีกด้วย

น้ำตาลในเลือดสูง

          จริงอยู่ที่การตรวจระดับน้ำตาลในเลือดจะสามารถระบุได้ชัดที่สุดว่าคุณกำลังเป็นโรคเบาหวานหรือไม่ แต่เราก็ไม่สามารถเชื่อผลการตรวจเลือดในครั้งแรกได้ค่ะ เพราะการตรวจเลือดในครั้งแรก ระดับน้ำตาลที่สูงอาจจะเกิดจากการรับประทานอาหารก็ได้ จึงควรได้รับการตรวจเลือดซ้ำ โดยงดอาหารและน้ำก่อนการตรวจเลือดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง

          ทั้งนี้ระดับน้ำตาลของคนปกติจะอยู่ที่ประมาณ 99 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร หากระดับน้ำตาลอยู่ที่ประมาณ 100 - 125 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรก็ควรระมัดระวัง แต่ถ้าระดับน้ำตาลสูงกกว่า 126 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร แม้จะตรวจซ้ำแล้วก็แปลว่าคุณกำลังเป็นโรคเบาหวาน

โรคเบาหวาน-คุณจะลดความเสี่ยงของการเป็นโรคเบาหวานได้ไหม?

          อัตราการเกิดโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนกลายเป็นปัญหาสุขภาพระดับโลก โรคเบาหวานมี 2 ประเภทหลัก ๆ คือ  ประเภทที่ 1 ผู้ป่วยเริ่มเป็นเบาหวานตั้งแต่เด็กและในปัจจุบันหมอก็ยังไม่มีวิธีป้องกัน แต่ในบทความนี้จะกล่าวถึงโรคเบาหวาน ประเภทที่ 2 ผู้ป่วยประเภทนี้คิดเป็น 90 เปอร์เซ็นต์ของผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานทั้งหมด

สมัยก่อนผู้ใหญ่เท่านั้นที่เป็นโรคเบาหวานประเภทที่ 2 แต่ในปัจจุบันเด็กก็เป็นด้วย แต่ผู้เชี่ยวชาญหลายคนบอกว่าสามารถลดความเสี่ยงในการเป็นโรคเบาหวานประเภทที่ 2 ได้ ดังนั้น ถ้าคุณรู้เกี่ยวกับโรคที่เป็นภัยเงียบนี้อยู่บ้างก็จะเป็นประโยชน์ต่อคุณ 

โรคเบาหวานคืออะไร?

โรคเบาหวานคือ การที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดมากเกินไป ปกติร่างกายมีกระบวนการส่งน้ำตาลผ่านกระแสเลือดไปยังเซลล์ต่าง ๆ เพื่อเปลี่ยนให้เป็นพลังงาน แต่โรคเบาหวานทำให้กระบวนการนี้ทำงานผิดปกติ ผลคืออวัยวะสำคัญๆ ได้รับความเสียหายและทำให้ระบบการไหลเวียนเลือดบกพร่อง บางครั้งอาจถึงขั้นต้องตัดนิ้วเท้าหรือเท้าด้วยซ้ำ นอกจากนั้น โรคเบาหวานอาจทำให้ตาบอด หรือเป็นโรคไตได้ด้วย ผู้ป่วยโรคเบาหวานส่วนใหญ่เสียชีวิตเนื่องจากหัวใจล้มเหลวหรือเส้นเลือดในสมองอุดตัน

ไขมันที่มากเกินไปเป็นสาเหตุหลักของโรคเบาหวานประเภทที่ 2 นี้ ผู้เชี่ยวชาญหลายคนเชื่อว่าไขมันสะสมที่พุงและเอวอาจเป็นตัวบ่งบอกว่ามีความเสี่ยงจะเป็นโรคเบาหวานได้มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไขมันในตับและตับอ่อนทำให้น้ำตาลในเลือดไม่ปกติ คุณจะลดความเสี่ยงของการเป็นโรคเบาหวานได้ไหม?

สามขั้นตอนที่ช่วยลดความเสี่ยงของการเป็นโรคเบาหวาน

1. ตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดถ้าคุณอยู่ในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง ก่อนที่จะเป็นโรคเบาหวานประเภทที่ 2 ร่างกายจะมีน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกตินิดหน่อย เรียกว่าภาวะก่อนเป็นโรคเบาหวาน ไม่ว่าจะเป็นภาวะก่อนเป็นโรคเบาหวานหรือเป็นโรคเบาหวานแล้วก็ไม่ดีต่อสุขภาพทั้งนั้น แต่สองอย่างนี้ต่างกันตรงที่ โรคเบาหวานไม่มีวิธีรักษาให้หายขาดแต่อาจควบคุมได้ ส่วนบางคนที่อยู่ในภาวะก่อนเป็นโรคเบาหวานสามารถทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้ แต่เป็นเพราะไม่มีอาการอะไรบ่งบอกชัดเจน หลายคนจึงไม่รู้ว่าตัวเองอยู่ในกลุ่มเสี่ยงที่จะเป็นโรคเบาหวาน รายงานหนึ่งบอกว่า ทั่วโลกมีประมาณ 316 ล้านคนที่อยู่ในภาวะก่อนเป็นโรคเบาหวานแต่หลายคนไม่รู้ตัว ตัวอย่างเช่น เฉพาะในสหรัฐก็มีถึง 90 เปอร์เซ็นต์ที่ไม่รู้ตัวว่าตัวเองอยู่ในภาวะก่อนเป็นโรคเบาหวาน

อย่างไรก็ตาม ภาวะก่อนเป็นโรคเบาหวานไม่ใช่ว่าจะไม่เป็นอันตราย เพราะนอกจากจะนำไปสู่การเป็นโรคเบาหวานประเภทที่ 2 แล้ว ยังเพิ่มความเสี่ยงที่จะเป็นโรคสมองเสื่อมอีกด้วย ถ้าคุณมีน้ำหนักตัวเกิน ไม่ค่อยออกกำลังกาย มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคเบาหวาน คุณอาจกำลังอยู่ในภาวะก่อนเป็นโรคเบาหวาน การตรวจเลือดจะช่วยให้คุณรู้ว่าคุณอยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือไม่

2. เลือกกินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ คุณจะมีสุขภาพดีขึ้นถ้าพยายามเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์จริง ๆ ลดปริมาณอาหารที่คุณกิน ดื่มน้ำเปล่า ชา หรือกาแฟแทนที่จะดื่มน้ำผลไม้ที่เพิ่มรสหวานและน้ำอัดลม กินขนมปัง ข้าว และพาสต้าที่ไม่ได้ผ่านการขัดสีในปริมาณที่พอเหมาะ กินเนื้อแดง ปลา และถั่วต่าง ๆ

3. ออกกำลังกายเป็นประจำ การออกกำลังกายลดระดับน้ำตาลในเลือดได้และช่วยให้มีน้ำหนักตัวที่เหมาะสม ผู้เชี่ยวชาญคนหนึ่งแนะนำว่า เอาเวลาดูทีวีมาออกกำลังกายดีกว่า

คุณไม่สามารถเปลี่ยนแปลงยีนส์ของตัวเองได้ แต่คุณเปลี่ยนรูปแบบการใช้ชีวิตได้เพื่อทำให้คุณมีสุขภาพดีขึ้น การทำอย่างนั้นคุ้มค่าแน่นอน

#modi #โมดิ #เบาหวาน #สมุนไพรสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน #น้ำตาลในเลือด #โรคเบาหวาน

MODI โมดิ ราคา 950 บาท

โมดิ MODI
โมดิ MODI
โมดิ MODI
โมดิ MODI


สั่งซื้อคลิกได้ที่นี่ Order Here

การันตีด้วยรางวัลชนะเลิศจากการประกวด
โมดิ MODI

สนใจติดต่อ 0851185410
Email: pstlt@yahoo.com
ID Line: sittete

ดูสินค้าต่างๆได้ที่
http://herb.intrendinfo.com

MODI โมดิ
MODI โมดิ
MODI โมดิ

สมุนไพรไทยขมิ้นชัน นวัตกรรมเหรียญทองระดับโลก สนใจ สอบถาม ยินดีให้คำปรึกษาฟรี ทักเลยค่ะ

 

 



MODI โมดิเคอร์ม่า แม็กซ์ CURMA MAX